หนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อราคาที่ผันผวนของผลผลิตทางการเกษตรคือ ต้นทุนการผลิต หากเกษตรกรมีแนวทางลดต้นทุนให้ต่ำลง ประกอบกับการประยุกต์ใช้ไอเดีย จะเพิ่มโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าถึงผลผลิตที่มีคุณภาพได้ เรื่อง/ภาพ: นายฐานิต ศาลติกุลนุการ นักวิทยาศาสตร์เกษตร (ความเชี่ยวชาญ: เศรษฐศาสตร์, Agri-Bussiness Model) ข้อมูล: นายกมล ทิพโชต นักวิทยาศาสตร์เกษตร สังกัดภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Editor & Artwork: นางสาวปนัดดา ไชยศักดิ์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร พี่ ผมอยากให้นักศึกษาและผู้มีรายได้น้อยสามารถเข้าถึงผลผลิตที่มีคุณภาพในราคาที่ไม่สูงน่ะครับ แล้วทำไม?...
เรื่อง/ภาพ: นายฐานิต ศาลติกุลนุการ นักวิทยาศาสตร์เกษตร (ความเชี่ยวชาญ: เศรษฐศาสตร์, Agri-Business Model) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Editor & Artwork: นางสาวปนัดดา ไชยศักดิ์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร การเกษตรถือเป็นรากเหง้าของทุกสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมือง หรืออุตสาหกรรมต่างๆ และเกษตรเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “อาหาร” วิชาความรู้หรือศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่มีการเรียนการสอนทั้งในสถาบันการศึกษา และนอกสถาบันการศึกษานั้น มีอยู่หลากหลายสาขาวิชา ซึ่งส่วนใหญ่เยาวชนและผู้คนทั่วไปเลือกที่จะเรียนรู้ศาสตร์ต่าง ๆ...
เรื่อง/ภาพ: นายฐานิต ศาลติกุลนุการ นักวิทยาศาสตร์เกษตร (ความเชี่ยวชาญ: เศรษฐศาสตร์, Agri-Business Model) ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. Artwork & Layout : นางสาวปนัดดา ไชยศักดิ์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ตลาดพืชผักปลอดสารพิษและอาหารปลอดภัย สถานที่ที่โอบล้อมด้วยธรรมชาติ หุบเขา ต้นไม้ อากาศบริสุทธิ์ และพืชผักปลอดภัย ศูนย์รวมใจของ “กลุ่มเครือข่ายเกษตรปลอดพิษแม่ปิง” ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีสถานที่หนึ่งที่ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่โอบล้อมด้วยแนวทิวเขาที่ทอดยาว ในมุมมองรอบทิศเกือบ...
บ้านทุกหลังล้วนมีเศษผัก ผลไม้ที่เหลือจากการบริโภคในทุก ๆ วัน ซึ่งถือได้ว่าเป็นขยะ แต่รู้หรือไม่ว่าขยะเหล่านี้สามารถนำมาทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือนได้ง่ายๆ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพเป็นปุ๋ยที่สามารถทำให้ต้นไม้ ผัก ไม้ผล ไม้ดอกและไม้ประดับเจริญเติบโตได้โดยไร้สารเคมี ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภคเป็นอย่างมาก โดยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีการทำวิจัยในเรื่องนี้ด้วย นายสมศักดิ์ จีรัตน์  นักวิทยาศาสตร์เกษตร ศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าว่า การทำปุ๋ยหมักของคณะเกษตรศาสตร์ มช. เริ่มจากการวิจัย โดยนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจำพวกชีวมวลมาทำปุ๋ยหมัก ซึ่งอาศัยจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายเศษซากพืชให้กลายเป็นปุ๋ยหมักที่ช่วยลดต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมี และมีการนำองค์ความรู้เหล่านั้นมาถ่ายทอดสู่ชุมชนและเกษตรกร รวมทั้งมีผลิตภัณฑ์ที่ให้ประชาชนทั่วไปสามารถนำไปใช้ได้ นอกจากนี้ขยะสดอินทรีย์เหลือใช้จากครัวเรือนสามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพได้ โดยอาศัยจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายเศษพืชให้ได้ธาตุอาหาร...
เรื่อง / ภาพ : ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. คณะเกษตรศาสตร์ มช. เปิดหลักสูตรอบรมวิชาชีพระยะสั้น “การผลิตพืชผักตามมาตรฐาน GAP/อินทรีย์” ในงานเกษตรภาคเหนือ ครั้งที่ 10 เพื่อสร้างโอกาสในการขายผลผลิตแก่เกษตรกร ในช่วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา สภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทยไม่ค่อยดีนัก และดันถูกซ้ำเติมด้วยสถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 ทำให้ช่วงหลังสินค้าทางการเกษตรก็ได้รับผลกระทบ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ราคาสินค้าต่ำ ส่งผลกระทบโดยตรงกับเกษตรกร...