เรื่อง/ภาพ: นายฐานิต ศาลติกุลนุการ นักวิทยาศาสตร์เกษตร (ความเชี่ยวชาญ: เศรษฐศาสตร์, Agri-Business Model) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Editor & Artwork: นางสาวปนัดดา ไชยศักดิ์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร การเกษตรถือเป็นรากเหง้าของทุกสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมือง หรืออุตสาหกรรมต่างๆ และเกษตรเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “อาหาร” วิชาความรู้หรือศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่มีการเรียนการสอนทั้งในสถาบันการศึกษา และนอกสถาบันการศึกษานั้น มีอยู่หลากหลายสาขาวิชา ซึ่งส่วนใหญ่เยาวชนและผู้คนทั่วไปเลือกที่จะเรียนรู้ศาสตร์ต่าง ๆ...
เรื่อง/ภาพ: นายฐานิต ศาลติกุลนุการ นักวิทยาศาสตร์เกษตร (ความเชี่ยวชาญ: เศรษฐศาสตร์, Agri-Business Model) ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. Artwork & Layout : นางสาวปนัดดา ไชยศักดิ์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ตลาดพืชผักปลอดสารพิษและอาหารปลอดภัย สถานที่ที่โอบล้อมด้วยธรรมชาติ หุบเขา ต้นไม้ อากาศบริสุทธิ์ และพืชผักปลอดภัย ศูนย์รวมใจของ “กลุ่มเครือข่ายเกษตรปลอดพิษแม่ปิง” ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีสถานที่หนึ่งที่ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่โอบล้อมด้วยแนวทิวเขาที่ทอดยาว ในมุมมองรอบทิศเกือบ...
ขอเชิญร่วมประกวดบอนไซ ชิงถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี รายการประกวดจำนวน 19 ประเภท ดังนี้ ไม้ทรงมาตรฐาน1. ไม้จิ๋ว ความสูงจากขอบกระถางไม่เกิน 15 เซนติเมตร2. ไม้เล็ก ความสูงจากขอบกระถางไม่เกิน 30 เซนติเมตร3. ไม้รุ่นกลาง ความสูงจากขอบกระถางไม่เกิน 45 เซนติเมตร4. ไม้รุ่นใหญ่ ความสูงจากขอบกระถางไม่เกิน 60 เซนติเมตรไม้ตอ5. ไม้ตอเล็ก ความสูงจากขอบกระถางไม่เกิน ...
บ้านทุกหลังล้วนมีเศษผัก ผลไม้ที่เหลือจากการบริโภคในทุก ๆ วัน ซึ่งถือได้ว่าเป็นขยะ แต่รู้หรือไม่ว่าขยะเหล่านี้สามารถนำมาทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือนได้ง่ายๆ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพเป็นปุ๋ยที่สามารถทำให้ต้นไม้ ผัก ไม้ผล ไม้ดอกและไม้ประดับเจริญเติบโตได้โดยไร้สารเคมี ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภคเป็นอย่างมาก โดยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีการทำวิจัยในเรื่องนี้ด้วย นายสมศักดิ์ จีรัตน์ นักวิทยาศาสตร์เกษตร ศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าว่า การทำปุ๋ยหมักของคณะเกษตรศาสตร์ มช. เริ่มจากการวิจัย โดยนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจำพวกชีวมวลมาทำปุ๋ยหมัก ซึ่งอาศัยจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายเศษซากพืชให้กลายเป็นปุ๋ยหมักที่ช่วยลดต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมี และมีการนำองค์ความรู้เหล่านั้นมาถ่ายทอดสู่ชุมชนและเกษตรกร รวมทั้งมีผลิตภัณฑ์ที่ให้ประชาชนทั่วไปสามารถนำไปใช้ได้ นอกจากนี้ขยะสดอินทรีย์เหลือใช้จากครัวเรือนสามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพได้ โดยอาศัยจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายเศษพืชให้ได้ธาตุอาหาร...
เรื่อง / ภาพ : ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. คณะเกษตรศาสตร์ มช. เปิดหลักสูตรอบรมวิชาชีพระยะสั้น “การผลิตพืชผักตามมาตรฐาน GAP/อินทรีย์” ในงานเกษตรภาคเหนือ ครั้งที่ 10 เพื่อสร้างโอกาสในการขายผลผลิตแก่เกษตรกร ในช่วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา สภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทยไม่ค่อยดีนัก และดันถูกซ้ำเติมด้วยสถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 ทำให้ช่วงหลังสินค้าทางการเกษตรก็ได้รับผลกระทบ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ราคาสินค้าต่ำ ส่งผลกระทบโดยตรงกับเกษตรกร...